วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Lacture

Lecture  Notes
ห้องสมุดนั้นถือว่าเป็นห้องสำคัญอีกอย่างหนึ่งสำหรับการค้นคว้าหาข้อมูลนอกห้องเรียนซึ่งในมหาลัยจะมีการจัดห้องสมุดอยู่ด้วยกัน  2 ระบบ คือ
  1.ระบบดิ้วอี้  คือ  เป็นระบบที่เหมาะสำหรับห้องสมุดที่มีพื้นที่ในการจัดน้อยหรือมีขนาดพื้นที่ขนาดเล็ก
  2. ระบบรัฐสภาอเมริกัน  คือ   เป็นระบบที่เหมาะสำหรับห้องสมุดที่มีพื้นที่ในการจัดมากหรือที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่
โดยในระบบทั้งสองนี้จะมีการเจาะลึกในเนื้อหามากกว่าระบบ  OPAC 
Melville Dewey คือ การจัดรูปแบบทศนิยมดิวอี้ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ดิวอี้
คำว่า OPAC ย่อมาจากคำว่า Conline Public Access Catalogs
                        ข้อจำกัดของ OPAC
คือ  ใช้ในการสืบค้นหาทรัพยากรในห้องสมุดเท่านั้น เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ หนังสือ
อ้างอิง แผ่นCD เทปโทรทัศน์ เป็นต้น ถ้านอกเหนือจากจากนี้จะไม่สามารถหาได้
               ซึ่งในระบบดิ้วอี้นี้จะมีการจัดหน้าที่เหมือนกับหนังสือ
   Contents   คือ สารบัญ
   Glossary   คือ อภิทานศัพท์
     Index       คือ ดรรชนี หรือ เขียนอีกอย่างหนึ่งได้ว่า ดัชนี
    Autino      คือ ผู้แต่ง 
Iulstrolor คือ สำนักพิมพ์
Copvrighlpay คือ หน้าลิขสิทธ์
 ISBN    คือ เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ
 ISSN   คือ เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร
ซึ่ง SS ย่อมาจากคำว่า Serials คือ สิ่งที่ออกมาต่อๆกันจนไม่มีที่สิ้นสุด
Imprint คือ พิมพลักษณ์ ( เมืองที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ปีที่พิมพ์ )
Edition   คือ ครั้งที่พิมพ์
ดัชนี หมายถึง จะให้คำหรือหัวข้อเรื่องและตัวเลขซึ่งตัวเลขในที่นี้ก็คือการบอกหน้าของคำนั้นๆจะง่ายแก่การค้นหาคำนั้นซึ่งจะประหยัดเวลาแล้วดัชนีนี้จะล่วงลึกและจะมีรายละเอียดมากกว่าสารบัญแล้วดัชนีจะอยู่ตรงจุดมากกว่าสารบัญ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น